กรณีศึกษาการวัดค่าองค์ประกอบกำลังไฟฟ้าในระบบ 1 เฟส ภายใต้สภาวะโหลดไม่เชิงเส้น
Abstract
บทความนี้นำเสนอการศึกษาการวัดค่าองค์ประกอบกำลังไฟฟ้าในระบบ 1 เฟส ในสภาวะโหลดไม่เป็นเชิงเส้น โดยพัฒนาการวัดค่ากำลังไฟฟ้าร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณแรงดันและกระแสไฟฟ้าที่ได้จากโหลดไม่เชิง
เส้นแล้วนำสัญญาณดังกล่าวไปประมวลผลด้วยการ์ดประมวลผลสัญญาณ (DAQ) จากนั้น ทำการคำนวณหาค่าองค์ประกอบกำลังไฟฟ้าและแสดงผลด้วยเครื่องมือวัดแบบเสมือน LabVIEW ซึ่งเป็นแนวทางในการวัดค่าองค์ประกอบกำลังไฟฟ้า เช่น
กำลังไฟฟ้าจริง กำลังไฟฟ้าปรากฏ กำลังไฟฟ้าเสมือน ค่ากำลังไฟฟ้าผิดเพี้ยนและค่าองค์ประกอบกำลังของวงจร โดยใช้การแปลงฟูริเยร์แบบเร็วในการแยกองค์ประกอบของแรงดันและกระแสไฟฟ้าที่ความถี่มูลฐานรวมถึงมุมเฟสที่ความถี่มูลฐาน
เพื่อใช้ในการคำนวณองค์ประกอบกำลังไฟฟ้าในสภาวะโหลดไม่เชิงเส้น นำผลที่ได้จากการวัด ไปเปรียบเทียบกับเครื่องมือวัดค่ากำลังไฟฟ้าที่ได้มาตรฐาน คือ METRIX PX120 ผลการทดสอบพบว่า การวัดค่าองค์ประกอบกำลังไฟฟ้าที่สร้างขึ้นมี
ผลการวัดมีค่าใกล้เคียง และมีความผิดพลาดในการวัดเฉลี่ยที่ 0.2 %คำสำคัญ : โหลดไม่เชิงเส้น, เครื่องมือวัดแบบเสมือน
เส้นแล้วนำสัญญาณดังกล่าวไปประมวลผลด้วยการ์ดประมวลผลสัญญาณ (DAQ) จากนั้น ทำการคำนวณหาค่าองค์ประกอบกำลังไฟฟ้าและแสดงผลด้วยเครื่องมือวัดแบบเสมือน LabVIEW ซึ่งเป็นแนวทางในการวัดค่าองค์ประกอบกำลังไฟฟ้า เช่น
กำลังไฟฟ้าจริง กำลังไฟฟ้าปรากฏ กำลังไฟฟ้าเสมือน ค่ากำลังไฟฟ้าผิดเพี้ยนและค่าองค์ประกอบกำลังของวงจร โดยใช้การแปลงฟูริเยร์แบบเร็วในการแยกองค์ประกอบของแรงดันและกระแสไฟฟ้าที่ความถี่มูลฐานรวมถึงมุมเฟสที่ความถี่มูลฐาน
เพื่อใช้ในการคำนวณองค์ประกอบกำลังไฟฟ้าในสภาวะโหลดไม่เชิงเส้น นำผลที่ได้จากการวัด ไปเปรียบเทียบกับเครื่องมือวัดค่ากำลังไฟฟ้าที่ได้มาตรฐาน คือ METRIX PX120 ผลการทดสอบพบว่า การวัดค่าองค์ประกอบกำลังไฟฟ้าที่สร้างขึ้นมี
ผลการวัดมีค่าใกล้เคียง และมีความผิดพลาดในการวัดเฉลี่ยที่ 0.2 %คำสำคัญ : โหลดไม่เชิงเส้น, เครื่องมือวัดแบบเสมือน
Refbacks
- There are currently no refbacks.